ด่วน!! ไทยกำลังจะเสียดินแดนหลายจังหวัดโดยเฉพาะพื้นที่ เกาะกูด
ภายหลังจากที่นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และ รมว. กลาโหม ให้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2567 กล่าวถึงกระแสวิจารณ์ MOU 2544 ระหว่างไทยและกัมพูชา ซึ่งมีขึ้นในรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลชุดปัจจุบันจะนำมาเป็นเครื่องมือในการแบ่งผลประโยชน์ทับ
ซ้อนทางทะเลว่าไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เนื่องจากเกาะกูดนั้น เป็นของไทยอย่างชัดเจนมานานแล้ว และสิ่งสำคัญคือทรัพยากรน้ำมันใต้ทะเลในพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย และกัมพูชา ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายจะดำเนินการเจรจาแบ่งปันผลประโยชน์ระหว่างกันพลเรือเอกพัลลภ ตมิศานนท์ อดีตสม
าชิกวุฒิสภาให้สัมภาษณ์กับ The Structure กล่าวว่า ปัญหาพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน (Overlapping Claims Area: OCA) ระหว่างไทย-กัมพูชา มีพื้นที่ 26,400 ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) ซึ่งถือว่ากว้างใหญ่มากเกิดจากการประกาศอ้างสิทธิพื้นที่ไหล่ทวีป ตามกฎหมายทะเลทั้งขอ
งไทย (ปี 2516) และกัมพูชา (ปี 2515) ในลักษณะอ้างสิทธิฝ่ายเดียว (Unilateral claim) และกัมพูชาลากเส้นไหล่ทวีปด้านเหนือผ่ากลางเกาะกูด เปรียบเสมือนลากเส้นเขตแดนของประเทศหนึ่ง ผ่ากลางเกาะของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเกินกว่าสิทธิ ตามกฎหมายทะเลและละเมิดอธิปไตยของ
ไทยซึ่งการที่กัมพูชาลากเส้นไหล่ทวีปผ่ากลางเกาะกูดในลักษณะ “เกินสิทธิ”เช่นนี้ ทำให้ เกิดพื้นที่อ้างเกินสิทธิขึ้นใน OCA ซึ่งพื้นที่ส่วนนี้ควรเป็นของไทย 100% กัมพูชาไม่มีสิทธิในพื้นที่ส่วนนี้เลย มีขนาด 12,331 ตร.กม. (พื้นที่ส่วนสีแดง) หรือกว่า 46.7% ของ
พื้นที่ OCA ทั้งหมด ที่เหลืออีก 14,069 ตร.กม. หรือ 53.3% (พื้นที่ส่วนสีเขียว) จึงเป็นพื้นที่ที่แต่ละฝ่ายสามารถอ้างตามสิทธิตาม กฎหมายทะเลว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนหากไทยยอมให้นำทรัพยากรใน OCA (พื้นที่อ้างตามสิทธิ + พื้นที่อ้างเกินสิทธิ) มาแบ่งปัน กับกัมพ
ูชา ย่อมไม่ยุติธรรมกับไทย เพราะกัมพูชาย่อมไม่มีสิทธิใด ๆ เลย ในทรัพยากรในพื้นที่อ้าง เกินสิทธิกว่า 46.7% ของ OCA (พื้นที่ส่วนสีแดง)แต่ที่สำคัญ หากไทยยอมให้นำทรัพยากรใน OCA มาแบ่งปันกับกัมพูชา ซึ่งเป็นข้อตกลงส่วนหนึ่ง ของ MOU44 เท่ากับไทยยอมรับความมีอ
ยู่จริงของเส้นไหล่ทวีปที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ ซึ่งจะสร้าง ความชอบธรรมให้กับกัมพูชาหากมีการเจรจาเส้นเขตแดนทางทะเลในอนาคต ให้สามารถใช้เป็นหลักฐาน หรือข้อพิสูจน์ในศาลระหว่างประเทศโดยอ้างสิทธิทางประวัติศาสตร์ (Historic Title) ตามกฎหมายทะเล เพื่อให้เส้นไหล่ท
วีปที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ เป็นเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชาที่ถูกต้อง สมบูรณ์และอาจนำไปสู่การเสียดินแดนของไทยต่อไปสถานการณ์ขณะนี้จึงอาจกล่าวได้ว่า ทั้ง OCA และ MOU44 เปรียบเสมือนกับดักไปสู่การเสียดินแดนของไทยนอกจากนี้ พลเรือเอกพัลลภเสนอแนวทางแก
้ไขปัญหาจาก MOU 44 ดังนี้1. ในทุกกรณีไทยต้องไม่ยอมตกลงแบ่งปันทรัพยากรใดๆ กับกัมพูชาในพื้นที่ OCA 26,400 ตร.กม.นี้ แต่จะต้องเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างกันให้แล้วเสร็จเสียก่อน หากไทยยอมตกลงแบ่งปันทรัพยากร ในพื้นที่ OCA ก่อนการเจรจาแบ่งเขตแดนแล้วเสร็จ
เท่ากับว่าไทยกำลังเดินเข้าสู่กับดักการเสียดินแดนไทยควรประกาศยกเลิก MOU44 โดยเร็วที่สุด เพราะยิ่งเนิ่นนานไปไทยจะยิ่งเสียเปรียบ เนื่องจากบทบัญญัติของ MOU44 นั้น สื่อความหมายว่าไทยยอมรับการประกาศเขตไหล่ทวีปของ กัมพูชาเมื่อปี 2515 ซึ่งหมายถึงยอมรับความม
ีอยู่จริงและสร้างความชอบธรรมให้กับเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ จะทำให้ไทยเสียเปรียบในการเจรจาเส้นเขตแดนทางทะเลและอาจนำไปสู่ การเสียดินแดนต่อไปในอนาคตไทยควรประกาศยืนยันไม่ยอมรับเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ประกาศเมื่อปี 2515 และเสนอ ให้มีการเ
จรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างไทย-กัมพูชาต่อไป โดยสามารถใช้กฎหมายทะเลตามปกติ เป็นกรอบการเจรจาได้เช่นเดียวกับที่ไทยดำเนินการกับประเทศอื่นๆสำเร็จลุล่วงมาแล้วเช่น มาเลเซีย และเวียดนาม เป็นต้น
ด่วน!! ไทยกำลังจะเสียดินแดนหลายจังหวัดโดยเฉพาะพื้นที่ เกาะกูด
ภายหลังจากที่นายภูมิธรรม เวชยชัย รองนายกรัฐมนตรี และ รมว. กลาโหม ให้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2567 กล่าวถึงกระแสวิจารณ์ MOU 2544 ระหว่างไทยและกัมพูชา ซึ่งมีขึ้นในรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลชุดปัจจุบันจะนำมาเป็นเครื่องมือในการแบ่งผลประโยชน์ทับ
ซ้อนทางทะเลว่าไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เนื่องจากเกาะกูดนั้น เป็นของไทยอย่างชัดเจนมานานแล้ว และสิ่งสำคัญคือทรัพยากรน้ำมันใต้ทะเลในพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย และกัมพูชา ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ายจะดำเนินการเจรจาแบ่งปันผลประโยชน์ระหว่างกันพลเรือเอกพัลลภ ตมิศานนท์ อดีตสม
าชิกวุฒิสภาให้สัมภาษณ์กับ The Structure กล่าวว่า ปัญหาพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน (Overlapping Claims Area: OCA) ระหว่างไทย-กัมพูชา มีพื้นที่ 26,400 ตารางกิโลเมตร (ตร.กม.) ซึ่งถือว่ากว้างใหญ่มากเกิดจากการประกาศอ้างสิทธิพื้นที่ไหล่ทวีป ตามกฎหมายทะเลทั้งขอ
งไทย (ปี 2516) และกัมพูชา (ปี 2515) ในลักษณะอ้างสิทธิฝ่ายเดียว (Unilateral claim) และกัมพูชาลากเส้นไหล่ทวีปด้านเหนือผ่ากลางเกาะกูด เปรียบเสมือนลากเส้นเขตแดนของประเทศหนึ่ง ผ่ากลางเกาะของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเกินกว่าสิทธิ ตามกฎหมายทะเลและละเมิดอธิปไตยของ
ไทยซึ่งการที่กัมพูชาลากเส้นไหล่ทวีปผ่ากลางเกาะกูดในลักษณะ “เกินสิทธิ”เช่นนี้ ทำให้ เกิดพื้นที่อ้างเกินสิทธิขึ้นใน OCA ซึ่งพื้นที่ส่วนนี้ควรเป็นของไทย 100% กัมพูชาไม่มีสิทธิในพื้นที่ส่วนนี้เลย มีขนาด 12,331 ตร.กม. (พื้นที่ส่วนสีแดง) หรือกว่า 46.7% ของ
พื้นที่ OCA ทั้งหมด ที่เหลืออีก 14,069 ตร.กม. หรือ 53.3% (พื้นที่ส่วนสีเขียว) จึงเป็นพื้นที่ที่แต่ละฝ่ายสามารถอ้างตามสิทธิตาม กฎหมายทะเลว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนหากไทยยอมให้นำทรัพยากรใน OCA (พื้นที่อ้างตามสิทธิ + พื้นที่อ้างเกินสิทธิ) มาแบ่งปัน กับกัมพ
ูชา ย่อมไม่ยุติธรรมกับไทย เพราะกัมพูชาย่อมไม่มีสิทธิใด ๆ เลย ในทรัพยากรในพื้นที่อ้าง เกินสิทธิกว่า 46.7% ของ OCA (พื้นที่ส่วนสีแดง)แต่ที่สำคัญ หากไทยยอมให้นำทรัพยากรใน OCA มาแบ่งปันกับกัมพูชา ซึ่งเป็นข้อตกลงส่วนหนึ่ง ของ MOU44 เท่ากับไทยยอมรับความมีอ
ยู่จริงของเส้นไหล่ทวีปที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ ซึ่งจะสร้าง ความชอบธรรมให้กับกัมพูชาหากมีการเจรจาเส้นเขตแดนทางทะเลในอนาคต ให้สามารถใช้เป็นหลักฐาน หรือข้อพิสูจน์ในศาลระหว่างประเทศโดยอ้างสิทธิทางประวัติศาสตร์ (Historic Title) ตามกฎหมายทะเล เพื่อให้เส้นไหล่ท
วีปที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ เป็นเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชาที่ถูกต้อง สมบูรณ์และอาจนำไปสู่การเสียดินแดนของไทยต่อไปสถานการณ์ขณะนี้จึงอาจกล่าวได้ว่า ทั้ง OCA และ MOU44 เปรียบเสมือนกับดักไปสู่การเสียดินแดนของไทยนอกจากนี้ พลเรือเอกพัลลภเสนอแนวทางแก
้ไขปัญหาจาก MOU 44 ดังนี้1. ในทุกกรณีไทยต้องไม่ยอมตกลงแบ่งปันทรัพยากรใดๆ กับกัมพูชาในพื้นที่ OCA 26,400 ตร.กม.นี้ แต่จะต้องเจรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างกันให้แล้วเสร็จเสียก่อน หากไทยยอมตกลงแบ่งปันทรัพยากร ในพื้นที่ OCA ก่อนการเจรจาแบ่งเขตแดนแล้วเสร็จ
เท่ากับว่าไทยกำลังเดินเข้าสู่กับดักการเสียดินแดนไทยควรประกาศยกเลิก MOU44 โดยเร็วที่สุด เพราะยิ่งเนิ่นนานไปไทยจะยิ่งเสียเปรียบ เนื่องจากบทบัญญัติของ MOU44 นั้น สื่อความหมายว่าไทยยอมรับการประกาศเขตไหล่ทวีปของ กัมพูชาเมื่อปี 2515 ซึ่งหมายถึงยอมรับความม
ีอยู่จริงและสร้างความชอบธรรมให้กับเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ลากผ่านเกาะกูดนี้ จะทำให้ไทยเสียเปรียบในการเจรจาเส้นเขตแดนทางทะเลและอาจนำไปสู่ การเสียดินแดนต่อไปในอนาคตไทยควรประกาศยืนยันไม่ยอมรับเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ประกาศเมื่อปี 2515 และเสนอ ให้มีการเ
จรจาแบ่งเขตแดนทางทะเลระหว่างไทย-กัมพูชาต่อไป โดยสามารถใช้กฎหมายทะเลตามปกติ เป็นกรอบการเจรจาได้เช่นเดียวกับที่ไทยดำเนินการกับประเทศอื่นๆสำเร็จลุล่วงมาแล้วเช่น มาเลเซีย และเวียดนาม เป็นต้น