ด่วน!! เปิดรายชื่อจังหวัด ท่วมแน่ เฝ้าระวังใกล้ชิด

ด่วน!! เปิดรายชื่อจังหวัด ท่วมแน่ เฝ้าระวังใกล้ชิด

Post Image

วันที่ 10 ตุลาคม 2567 รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ผอ.แผนงานวิจัยขับเคลื่อนแนวทางการใช้ประโยชน์ ด้านการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและยวัตกรรม (อว.) เ

ปิดเผยว่า ปริมาณน้ำทุกภาคเริ่มลดลง แต่จะไปเพิ่มที่บริเวณภาคใต้ และคาดว่าจะมีโอกาสพายุเข้าประเทศเวียดนาม ช่วงระหว่างวันที่ 13-14 ต.ค. 2567 ประเทศไทยจึงต้องติดตามเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะบริเวณใต้เขื่อน ตั้งแต่พิษณุโลกลงมาที่จะทำให้มีปริมาณน้ำเข้า

ไปเติมอีกซึ่งที่ผ่านมามีพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา (ไม่รวมภาคเหนือตอนบน) ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมครอบคลุม 14 จังหวัด รวม 1,412,212 ไร่ โดยจังหวัดที่เสียหายเกิน 2 แสนไร่ คือ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก และนครสวรรค์ ตามลำดับรศ.ดร.สุจริต กล่าวว่า ผลการวิเครา

ะห์สถานการณ์น้ำ ฝนคาดการณ์ การบริหารเขื่อนและสภาพน้ำท่าท้ายเขื่อนของทีมวิจัยจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พบว่า ขณะนี้ปริมาณน้ำเก็บกักในเขื่อนหลัก ประกอบด้วย เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำร้อยละ 70 เขื่อนสิริกิติ์

ร้อยละ 94 เขื่อนแควน้อยบำรุงแดนร้อยละ 79 และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ร้อยละ 93 โดยปริมาณน้ำท่าปัจจุบันที่สถานีตรวจวัดสูงสุดอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ 2,334 ลบ.ม./วินาทีทั้งนี้แนวโน้มน้ำท่าสูงสุดในอีก 10 วันข้างหน้า จนถึงวันที่ 21 ต.ค. 2567 ปริมาณน้ำท่าที่จัง

หวัดกำแพงเพชร พิษณุโลก อุทัยธานี และนครสวรรค์ จะลดลง แต่ พระนครศรีอยุธยาจะเพิ่มจาก 1,990 ลบ.ม./วินาที เป็น 2,128 ลบ.ม./วินาที “จึงสรุปได้ว่า ระดับน้ำจะสูงขึ้นตั้งแต่ ใต้จังหวัดชัยนาท และใต้พระนครศรีอยุธยา ลงมาในบริเวณพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และพื้น

ที่ลุ่มต่ำนอกคันกั้นน้ำ ส่งผลให้น้ำท่วมพื้นที่ริมตลิ่งและมีโอกาสล้นคันกั้นน้ำได้ สำหรับปริมาณน้ำท่าในพื้นที่ตอนบนทั้งแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่านมีแนวโน้มลดลง”

ด่วน!! เปิดรายชื่อจังหวัด ท่วมแน่ เฝ้าระวังใกล้ชิด

วันที่ 10 ตุลาคม 2567 รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ผอ.แผนงานวิจัยขับเคลื่อนแนวทางการใช้ประโยชน์ ด้านการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและยวัตกรรม (อว.) เ

ปิดเผยว่า ปริมาณน้ำทุกภาคเริ่มลดลง แต่จะไปเพิ่มที่บริเวณภาคใต้ และคาดว่าจะมีโอกาสพายุเข้าประเทศเวียดนาม ช่วงระหว่างวันที่ 13-14 ต.ค. 2567 ประเทศไทยจึงต้องติดตามเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะบริเวณใต้เขื่อน ตั้งแต่พิษณุโลกลงมาที่จะทำให้มีปริมาณน้ำเข้า

ไปเติมอีกซึ่งที่ผ่านมามีพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา (ไม่รวมภาคเหนือตอนบน) ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมครอบคลุม 14 จังหวัด รวม 1,412,212 ไร่ โดยจังหวัดที่เสียหายเกิน 2 แสนไร่ คือ พิจิตร สุโขทัย พิษณุโลก และนครสวรรค์ ตามลำดับรศ.ดร.สุจริต กล่าวว่า ผลการวิเครา

ะห์สถานการณ์น้ำ ฝนคาดการณ์ การบริหารเขื่อนและสภาพน้ำท่าท้ายเขื่อนของทีมวิจัยจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พบว่า ขณะนี้ปริมาณน้ำเก็บกักในเขื่อนหลัก ประกอบด้วย เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำร้อยละ 70 เขื่อนสิริกิติ์

ร้อยละ 94 เขื่อนแควน้อยบำรุงแดนร้อยละ 79 และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ร้อยละ 93 โดยปริมาณน้ำท่าปัจจุบันที่สถานีตรวจวัดสูงสุดอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ 2,334 ลบ.ม./วินาทีทั้งนี้แนวโน้มน้ำท่าสูงสุดในอีก 10 วันข้างหน้า จนถึงวันที่ 21 ต.ค. 2567 ปริมาณน้ำท่าที่จัง

หวัดกำแพงเพชร พิษณุโลก อุทัยธานี และนครสวรรค์ จะลดลง แต่ พระนครศรีอยุธยาจะเพิ่มจาก 1,990 ลบ.ม./วินาที เป็น 2,128 ลบ.ม./วินาที “จึงสรุปได้ว่า ระดับน้ำจะสูงขึ้นตั้งแต่ ใต้จังหวัดชัยนาท และใต้พระนครศรีอยุธยา ลงมาในบริเวณพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และพื้น

ที่ลุ่มต่ำนอกคันกั้นน้ำ ส่งผลให้น้ำท่วมพื้นที่ริมตลิ่งและมีโอกาสล้นคันกั้นน้ำได้ สำหรับปริมาณน้ำท่าในพื้นที่ตอนบนทั้งแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่านมีแนวโน้มลดลง”