อันตรายมาก! ทำความรู้จัก โรคมะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ ที่ทำพระเอกดังเสียชีวิต

อันตรายมาก! ทำความรู้จัก โรคมะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ ที่ทำพระเอกดังเสียชีวิต

Post Image

จากกรณีพระเอกหนุ่ม อ๋อม อรรคพันธ์ ป่วยเป็ฯโรคมะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ สำหรับวันนี้เราจะพาไปทำความรู้จักโรค มะเร็งกล้ามเนื้อ หรือโรคมะเร็งกล้ามเนื้อ(Muscle tissue cancer)คือโรคที่เกิดจากเซลล์/เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อมัดใดก็ได้เกิดกลายพันธ์เจริญเติบโต แบ่งตัว

รวดเร็วผิดปกติที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญแบ่งตัวนี้ได้ จนเกิดเป็นก้อนมะเร็ง/แผลมะเร็ง คือ ก้อนเนื้อที่เซลล์รุกราน/ลุกลามทำลายเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อนั้นๆจนสูญเสียการทำงาน ลุกลามทำลายเนื้อเยื่อ/อวัยวะข้างเคียง เช่น กล้ามเนื้อข้างเคียง กระดูก ลุกลา

มเข้าทำลายต่อมน้ำเหลือง และในที่สุดจะแพร่กระจายเข้าสู่ระบบน้ำเหลืองไปทำลายต่อมน้ำเหลืองทั่วตัว และ/หรือรุกรานเข้ากระแสโลหิต/เลือดเข้าลายอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย ที่พบบ่อยคือ ปอด มะเร็งกล้ามเนื้อเป็นโรคพบทั่วโลก แต่พบน้อย พบในทุกอายุ ทั้ง2 เพศ และมีหลาก

หลายชนิดย่อย บางชนิดพบบ่อยในเด็ก บางชนิดพบในผู้ใหญ่ อนึ่ง กล้ามเนื้อ(Muscle)จัดเป็นเนื้อเยื่อกลุ่มเนื้อเยื่ออ่อน ดังนั้นจึงจัดอยู่ในมะเร็ง มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน โดยเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อประกอบด้วย เนื้อเยื่อตัวกล้ามเนื้อเอง เนื้อเยื่อเอ็นกล้ามเนื้อ และเ

นื้อเยื่อพังผืด(Fibrous tissue, เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มกล้ามเนื้อ) ซึ่งทุกชนิดพบเกิดเป็นมะเร็งได้อนึ่ง เนื้อเยื่อตัวกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. กล้ามเนื้อลาย(Striated muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ติดกับกระดูก ทำงานร่วมกับกระดูก(จึงเรียกอีกชื่อว่า

Skeletal muscle)เพื่อการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเฉพาะ แขน ขา มือ นิ้ว เป็นกล้ามเนื้อที่ทำงาน/เคลื่อนไหวตามคำสั่งของสมอง จึงมีอีกชื่อว่า ‘Voluntary muscle’ เป็นกล้ามเนื้อที่คิดเป็นประมาณ36%ของกล้ามเนื้อทั้งหมดในผู้หญิง แต่ประมาณ42%ในผู้ชาย 2. กล้ามเนื้อเ

รียบ(Smooth muscle) เป็นกล้ามเนื้อของผนังอวัยวะภายในทั้งหมด(จึงมีอีกชื่อว่า Visceral muscle)โดยเฉพาะอวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อ เช่น ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ผนังมดลูก เป็นกล้ามเนื้อที่ทำงาน/เคลื่อนไหวโดยประสาทอัตโนมัติ จิตใจ/สมองไม่สามารถควบ

คุมการทำงานของมันได้ เช่น การบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ เป็นต้น จึงมีอีกชื่อว่า ‘Involuntary muscle’ 3. กล้ามเนื้อหัวใจ(Cardiac muscle)เป็นกล้ามเนื้อในกลุ่มกล้ามเนื้อเรียบ แต่มีลักษณะคล้ายกล้ามเนื้อลายด้วย เป็นกล้ามเนื้อที่มีการบีบตัวโดยอัตโนมัติเ

ช่นกัน และเป็นชนิดมีอยู่เฉพาะที่หัวใจโรคมะเร็งกล้ามเนื้อเกิดได้อย่างไร? มีปัจจัยเสี่ยงไหม?โรคมะเร็งกล้ามเนื้อ เป็นโรคไม่ทราบสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง น้อยรายที่พบมีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมผิดปกติที่ส่วนใหญ่เป็นพันธุกรรมชนิดไม่ถ่ายทอดมะเร็งกล้ามเนื้อมีกี่

ชนิด?เนื้อเยื่อในกลุ่มกล้ามเนื้อทุกชนิด เกิดเป็นมะเร็งได้ทุกชนิดในทั้ง2 เพศ และมีหลากหลายชนิดย่อย อย่างไรก็ตาม ทุกชนิดเป็นโรคพบยาก ในบทความนี้ขอยกตัวอย่าง มะเร็งกล้ามเนื้อชนิดพบบ่อยกว่าชนิดอื่นๆ แต่ก็ยังเป็นชนิดพบน้อย ได้แก่1. มะเร็งกล้ามเนื้อลาย เป็

นมะเร็งพบในทุกอายุ แต่มักพบในเด็ก โดยใน สหรัฐอเมริกามีรายงานพบได้ปีละประมาณ 4.4 รายต่อประชากรเด็ก 1 ล้านคน แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อลาย’2. มะเร็งกล้ามเนื้อเรียบ เป็นมะเร็งพบในทุกอายุ แต่ทั่วไปพบในผู้

ใหญ่ มีหลากหลายชนิดย่อย จึงยังไม่มีรายงานสถิติเกิดในภาพรวมที่ชัดเจนเพราะมักแยกรายงานในแต่ละชนิดย่อย แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อเรียบ’3. มะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นโรคพบทุกอายุ แต่พบน้อยมากๆในเด็ก ทั่วไป

เป็นโรคของผู้ใหญ่ แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ’4 . เนื้องอกเดสมอยด์(Desmoid tumor) เป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่อพังผืดที่ประกอบเป็นเอ็นกล้ามเนื้อ เป็นโรคพบทุกอายุ แต่เกือบทั้งหมดพบในผู้ใหญ่ พบเป็นประมา

ณ0.03%ของเนื้องอกทั้งหมด เป็นโรคที่มีปัจจัยเสี่ยงคือมีพันธุกรรมถ่ายทอดได้ที่เรียกว่า Familial adenomatous polyposis (FAP)ซึ่งผู้ป่วยมีพันธุกรรมนี้มักมีปัจจัยเสี่ยงเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ร่วมด้วย เป็นโรคพบน้อย ทั่วโลกพบโรคเดสมอยด์นี้ได้ประมาณ 1-2รายต่อประ

ชากร 5แสนคน5. Malignant fibrous histiocytoma ย่อว่า MFH เป็นโรคพบทุกอายุ แต่เกือบทั้งหมดพบในผู้ใหญ่โดยเฉพาะผู้สูงอายุ มักเกิดที่กล้ามเนื้อของ แขน ขา พบเป็นประมาณ 23%ของมะเร็งกล้ามเนื้อทั้งหมด เป็นมะเร็งมีการพยากรณ์โรคไม่ดี โรคแพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต

ได้เร็ว และมักแพร่กระจายสู่ปอด6. Myxofibrosarcoma เป็นโรคพบในผู้ใหญ่เกือบทั้งหมด มักพบที่ แขน ขา เช่นกัน เป็นมะเร็งที่โตช้า มักมีการย้อนกลับเป็นซ้ำสูงหลังผ่าตัด และยังสามารถกลายพันธ์เป็นชนิดมีการแบ่งตัวสูงที่จะมีการพยากรณ์โรคไม่ดี จะแพร่กระจายทางกระแ

สโลหิตสูง มักเข้าสู่ปอด และกระดูก และยังลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองได้สูงด้วย7. Fibrosarcoma พบในทุกอายุ แต่มักพบในวัยกลางคนและวัยสูงอายุ มักเกิดบนรอยแผลเป็น หรือที่เนื้อเยื่อเอ็นกล้ามเนื้อ พบได้บ่อยที่ แขน ขา ลำตัว และศีรษะ นอกจากนั้นยังพบเกิดในอวัยวะภา

ยในต่างๆได้ เช่น รังไข่ ท่อลมโรคมะเร็งกล้ามเนื้อมีวิธีรักษาอย่างไร?– วิธีรักษาหลักของมะเร็งกล้ามเนื้อ คือ ‘การผ่าตัด’– ส่วนรังสีรักษาและยาเคมีบำบัด แพทย์จะพิจารณารักษาในผู้ป่วยเป็นรายๆไป เพราะเซลล์มะเร็งกล้ามเนื้อ ทั่วไปมักตอบสนองได้ไม่ดีทั้งต่อรังสี

รักษาและยาเคมีบำบัด– ส่วน ยารักษาตรงเป้า/ ยารักษาแบบจำเพาะต่อเซลล์มะเร็ง มีการรักษาที่ได้ผลเฉพาะในมะเร็งกล้ามเนื้อบางชนิด เช่น เนื้องอกจีสต์ ส่วนชนิดอื่นๆ ยังอยู่ในการศึกษา

อันตรายมาก! ทำความรู้จัก โรคมะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ ที่ทำพระเอกดังเสียชีวิต

จากกรณีพระเอกหนุ่ม อ๋อม อรรคพันธ์ ป่วยเป็ฯโรคมะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ สำหรับวันนี้เราจะพาไปทำความรู้จักโรค มะเร็งกล้ามเนื้อ หรือโรคมะเร็งกล้ามเนื้อ(Muscle tissue cancer)คือโรคที่เกิดจากเซลล์/เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อมัดใดก็ได้เกิดกลายพันธ์เจริญเติบโต แบ่งตัว

รวดเร็วผิดปกติที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญแบ่งตัวนี้ได้ จนเกิดเป็นก้อนมะเร็ง/แผลมะเร็ง คือ ก้อนเนื้อที่เซลล์รุกราน/ลุกลามทำลายเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อนั้นๆจนสูญเสียการทำงาน ลุกลามทำลายเนื้อเยื่อ/อวัยวะข้างเคียง เช่น กล้ามเนื้อข้างเคียง กระดูก ลุกลา

มเข้าทำลายต่อมน้ำเหลือง และในที่สุดจะแพร่กระจายเข้าสู่ระบบน้ำเหลืองไปทำลายต่อมน้ำเหลืองทั่วตัว และ/หรือรุกรานเข้ากระแสโลหิต/เลือดเข้าลายอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย ที่พบบ่อยคือ ปอด มะเร็งกล้ามเนื้อเป็นโรคพบทั่วโลก แต่พบน้อย พบในทุกอายุ ทั้ง2 เพศ และมีหลาก

หลายชนิดย่อย บางชนิดพบบ่อยในเด็ก บางชนิดพบในผู้ใหญ่ อนึ่ง กล้ามเนื้อ(Muscle)จัดเป็นเนื้อเยื่อกลุ่มเนื้อเยื่ออ่อน ดังนั้นจึงจัดอยู่ในมะเร็ง มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน โดยเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อประกอบด้วย เนื้อเยื่อตัวกล้ามเนื้อเอง เนื้อเยื่อเอ็นกล้ามเนื้อ และเ

นื้อเยื่อพังผืด(Fibrous tissue, เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มกล้ามเนื้อ) ซึ่งทุกชนิดพบเกิดเป็นมะเร็งได้อนึ่ง เนื้อเยื่อตัวกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. กล้ามเนื้อลาย(Striated muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่ติดกับกระดูก ทำงานร่วมกับกระดูก(จึงเรียกอีกชื่อว่า

Skeletal muscle)เพื่อการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเฉพาะ แขน ขา มือ นิ้ว เป็นกล้ามเนื้อที่ทำงาน/เคลื่อนไหวตามคำสั่งของสมอง จึงมีอีกชื่อว่า ‘Voluntary muscle’ เป็นกล้ามเนื้อที่คิดเป็นประมาณ36%ของกล้ามเนื้อทั้งหมดในผู้หญิง แต่ประมาณ42%ในผู้ชาย 2. กล้ามเนื้อเ

รียบ(Smooth muscle) เป็นกล้ามเนื้อของผนังอวัยวะภายในทั้งหมด(จึงมีอีกชื่อว่า Visceral muscle)โดยเฉพาะอวัยวะที่มีลักษณะเป็นท่อ เช่น ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ผนังมดลูก เป็นกล้ามเนื้อที่ทำงาน/เคลื่อนไหวโดยประสาทอัตโนมัติ จิตใจ/สมองไม่สามารถควบ

คุมการทำงานของมันได้ เช่น การบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ เป็นต้น จึงมีอีกชื่อว่า ‘Involuntary muscle’ 3. กล้ามเนื้อหัวใจ(Cardiac muscle)เป็นกล้ามเนื้อในกลุ่มกล้ามเนื้อเรียบ แต่มีลักษณะคล้ายกล้ามเนื้อลายด้วย เป็นกล้ามเนื้อที่มีการบีบตัวโดยอัตโนมัติเ

ช่นกัน และเป็นชนิดมีอยู่เฉพาะที่หัวใจโรคมะเร็งกล้ามเนื้อเกิดได้อย่างไร? มีปัจจัยเสี่ยงไหม?โรคมะเร็งกล้ามเนื้อ เป็นโรคไม่ทราบสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง น้อยรายที่พบมีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมผิดปกติที่ส่วนใหญ่เป็นพันธุกรรมชนิดไม่ถ่ายทอดมะเร็งกล้ามเนื้อมีกี่

ชนิด?เนื้อเยื่อในกลุ่มกล้ามเนื้อทุกชนิด เกิดเป็นมะเร็งได้ทุกชนิดในทั้ง2 เพศ และมีหลากหลายชนิดย่อย อย่างไรก็ตาม ทุกชนิดเป็นโรคพบยาก ในบทความนี้ขอยกตัวอย่าง มะเร็งกล้ามเนื้อชนิดพบบ่อยกว่าชนิดอื่นๆ แต่ก็ยังเป็นชนิดพบน้อย ได้แก่1. มะเร็งกล้ามเนื้อลาย เป็

นมะเร็งพบในทุกอายุ แต่มักพบในเด็ก โดยใน สหรัฐอเมริกามีรายงานพบได้ปีละประมาณ 4.4 รายต่อประชากรเด็ก 1 ล้านคน แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อลาย’2. มะเร็งกล้ามเนื้อเรียบ เป็นมะเร็งพบในทุกอายุ แต่ทั่วไปพบในผู้

ใหญ่ มีหลากหลายชนิดย่อย จึงยังไม่มีรายงานสถิติเกิดในภาพรวมที่ชัดเจนเพราะมักแยกรายงานในแต่ละชนิดย่อย แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อเรียบ’3. มะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นโรคพบทุกอายุ แต่พบน้อยมากๆในเด็ก ทั่วไป

เป็นโรคของผู้ใหญ่ แนะนำอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมในเว็บ haamor.com บทความเรื่อง ‘มะเร็งกล้ามเนื้อหัวใจ’4 . เนื้องอกเดสมอยด์(Desmoid tumor) เป็นเนื้องอกของเนื้อเยื่อพังผืดที่ประกอบเป็นเอ็นกล้ามเนื้อ เป็นโรคพบทุกอายุ แต่เกือบทั้งหมดพบในผู้ใหญ่ พบเป็นประมา

ณ0.03%ของเนื้องอกทั้งหมด เป็นโรคที่มีปัจจัยเสี่ยงคือมีพันธุกรรมถ่ายทอดได้ที่เรียกว่า Familial adenomatous polyposis (FAP)ซึ่งผู้ป่วยมีพันธุกรรมนี้มักมีปัจจัยเสี่ยงเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ร่วมด้วย เป็นโรคพบน้อย ทั่วโลกพบโรคเดสมอยด์นี้ได้ประมาณ 1-2รายต่อประ

ชากร 5แสนคน5. Malignant fibrous histiocytoma ย่อว่า MFH เป็นโรคพบทุกอายุ แต่เกือบทั้งหมดพบในผู้ใหญ่โดยเฉพาะผู้สูงอายุ มักเกิดที่กล้ามเนื้อของ แขน ขา พบเป็นประมาณ 23%ของมะเร็งกล้ามเนื้อทั้งหมด เป็นมะเร็งมีการพยากรณ์โรคไม่ดี โรคแพร่กระจายเข้ากระแสโลหิต

ได้เร็ว และมักแพร่กระจายสู่ปอด6. Myxofibrosarcoma เป็นโรคพบในผู้ใหญ่เกือบทั้งหมด มักพบที่ แขน ขา เช่นกัน เป็นมะเร็งที่โตช้า มักมีการย้อนกลับเป็นซ้ำสูงหลังผ่าตัด และยังสามารถกลายพันธ์เป็นชนิดมีการแบ่งตัวสูงที่จะมีการพยากรณ์โรคไม่ดี จะแพร่กระจายทางกระแ

สโลหิตสูง มักเข้าสู่ปอด และกระดูก และยังลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองได้สูงด้วย7. Fibrosarcoma พบในทุกอายุ แต่มักพบในวัยกลางคนและวัยสูงอายุ มักเกิดบนรอยแผลเป็น หรือที่เนื้อเยื่อเอ็นกล้ามเนื้อ พบได้บ่อยที่ แขน ขา ลำตัว และศีรษะ นอกจากนั้นยังพบเกิดในอวัยวะภา

ยในต่างๆได้ เช่น รังไข่ ท่อลมโรคมะเร็งกล้ามเนื้อมีวิธีรักษาอย่างไร?– วิธีรักษาหลักของมะเร็งกล้ามเนื้อ คือ ‘การผ่าตัด’– ส่วนรังสีรักษาและยาเคมีบำบัด แพทย์จะพิจารณารักษาในผู้ป่วยเป็นรายๆไป เพราะเซลล์มะเร็งกล้ามเนื้อ ทั่วไปมักตอบสนองได้ไม่ดีทั้งต่อรังสี

รักษาและยาเคมีบำบัด– ส่วน ยารักษาตรงเป้า/ ยารักษาแบบจำเพาะต่อเซลล์มะเร็ง มีการรักษาที่ได้ผลเฉพาะในมะเร็งกล้ามเนื้อบางชนิด เช่น เนื้องอกจีสต์ ส่วนชนิดอื่นๆ ยังอยู่ในการศึกษา